“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องของการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มกันต่อ ซึ่งเพื่อนๆ ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า วิธีในการทดสอบดังกล่าวนี้ถือได้ว่าเป็น วิธีการทดสอบแบบไม่ทำลาย หรือ NON-DESTRUCTIVE TEST METHOD … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมต้องเดินทางไปทำงานตรวจการทำงานซ่อมแซมและเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างอาคารเก่าในต่างจังหวัดซึ่งในวันนั้นจะต้องมีการตรวจสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มหรือ PILE INTEGRITY TEST ด้วย ซึ่งผลจากการไปดูงานวันนั้นทำให้ผมพบว่าในปัจจุบันยังมีวิศวกรหลายๆ คนที่ยังมีความเข้าใจที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนไปจากข้อเท็จจริงหลายประการอยู่เหมือนกัน ดังนั้นผมจึงอยากจะขออนุญาตใช้พื้นที่ของการโพสต์นี้ในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องๆ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” โครงสร้างกันดินเสริมแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันลักษณะของโครงสร้างประเภทหนึ่งซึ่งจะทำหน้าที่เสมือนเป็นโครงสร้างกันดินเพียงแต่ความแตกต่างของโครงสร้างชนิดนี้ก็คือ จะเป็นการนำเอาทฤษฎีการออกแบบโครงสร้างฐานรากผนวกเข้ากับการออกแบบโครงสร้างกันดินมาใช้ในการทำงานออกแบบโครงสร้างชนิดนี้นั่นก็คือ โครงสร้างกันดินเสริมแรง หรือ REINFORCED EARTH STRUCTURE นั่นเองครับ ในการออกแบบลักษณะของโครงสร้างประเภทนี้เราจะใช้งานวัสดุดินซึ่งจะต้องได้รับการบดอัดก่อนและเนื่องจากว่าตัวดินเองนั้นมีความสามารถในการรับแรงดึงที่ต่ำมากๆ … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม รูปแบบหลักของการทรุดตัวของโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากเพื่อนๆ เป็นแฟนเพจของเรามานานน่าจะเคยได้อ่านบทความต่างๆ ของผมเกี่ยวกับเรื่องข้อเสียหรือความเสียหายต่างๆ ที่เกิดจาก การทรุดตัวของโครงสร้างฐานรากแบบไม่เท่ากัน หรือ DIFFERENTIAL SETTLEMENT อยู่บ่อยๆ ซึ่งผมมานั่งคิดๆ … Read More

ความรู้เรื่องการหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีแบบละเอียด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะมาต่อกนในหน้าที่ 3 4 และ 5 หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาในการคำนวณในหน้าที่ 1 และ 2 … Read More

ถาม-ตอบชวนสนุก ปัญหาการเลือกวิธีในการตอกเสาเข็มแซมในโครงสร้างฐานราก การออกแบบให้โครงสร้างเสาตอม่อโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็มให้มีความสมมาตร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขอยกตัวอย่างสักหนึ่งตัวอย่างซึ่งก็จะมีความต่อเนื่องกับโพสต์เมื่อสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทำการอธิบายไปว่า การที่เพื่อนๆ มักจะได้ยินคำแนะนำมาว่า จะต้องทำการเสริมโครงสร้างเสาเข็มให้เป็นแบบ “เลขคู่” เสมอนั้น ยังถือว่า “ไม่ถูกต้อง” เสียทีเดียวเพราะถ้าจะให้คำแนะนำที่มีความถูกต้องจริงๆ ควรจะต้องพูดว่า … Read More

ถาม-ตอบชวนสนุก ปัญหาการเลือกวิธีในการตอกเสาเข็มแซมในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงแบบแปลนของโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 2 ต้น หรือ F2 … Read More

ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมมีรูปจริงๆ ของระบบโครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น สาเหตุที่ผมใช้คำว่า กึ่งวิบัติ นั้นเป็นเพราะว่าถึงแม้ว่าโครงสร้างเสานั้นจะเกิดรอยร้าวที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่าเลยแต่ก็ยังดีว่าระบบโครงสร้างโดยรวมนั้นยังไม่ได้ถึงขั้นเกิดการวิบัติอย่างสมบูรณ์ โดยที่เจ้าของนั้นก็คงจะสังเกตเห็นและก็ทำการใช้ท่อนไม้ในการทำหน้าที่เป็นโครงสร้างค้ำยันให้แก่ระบบโครงสร้างนี้ได้ทันการพอดีน่ะครับ โดยที่ผมได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่า … Read More

ค่าความสามารถในการรับน้ำหนักปลอดภัยระหว่างกรณีของเสาเข็มสปันไมโครไพล์และโครงสร้างเสาเข็มเจาะ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอาประเด็นคำถามเกี่ยวกับเรื่องความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็มในหัวข้อที่ว่า เหตุใดเวลาที่เราทำการคำนวณโครงสร้างเสาเข็มที่มีรูปทรง หรือ มีขนาดกว้างและยาว หรือ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ที่เท่าๆ กัน … Read More

การทำงานเสาเข็มและฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอาบทความที่เขียนโดยท่านอาจารย์ ดร.พัลลภ วิสุทธิ์เมธานุกูล ผู้เขียนหนังสือ “คู่มือวิศวกรรมฐานราก” เอามาฝาก ซึ่งบทความๆ นี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง “ค่าสปริง (K) … Read More

1 2